.

Jul 9, 2012

Roadmap to ASEAN




1. ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับ ASEAN

หัวข้อเรื่องลิงค์แหล่งที่มา
ROADMAP TO ASEAN

คลิก
Association of Southeast Asian Nations
ประเทศไทยกับอาเซียน

คลิก
กรมประชาสัมพันธ์
The Official Website of The Association
of Southeast Asian Nations


คลิก
Association of Southeast Asian Nations
สมาคมอาเซียนประเทศไทย

คลิก
สมาคมอาเซียนประเทศไทย
ภาวะเศรษฐกิจลุ่มน้ำโขง

คลิก
ธนาคารแห่งประเทศไทย
สมาคมกฎหมายแห่งอาเซียน

คลิก
สมาคมกฎหมายแห่งอาเซียน
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

คลิก
ธนาคารแห่งประเทศไทย
กลไกระงับข้อพิพาทของอาเซียน และกฎสำหรับการเสนอเรื่องการไม่ปฏิบัติตามให้ที่ประชุมสุดยอด
อาเซียนตัดสิน


คลิก
สำนักงาน ก.พ.ร.


2. บทวิเคราะห์ประชาคมอาเซียน
ด้านประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community–AEC)

หัวข้อเรื่องลิงค์แหล่งที่มา
นักวิเคราะห์มองอาเซียนกับความก้าวหน้า
ทางเศรษฐกิจ


คลิก
สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์
บมจ. อสมท.
บทวิเคราะห์เรื่อง "ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ต่อเศรษฐกิจการค้าของไทย
ใน 6 ปีข้างหน้า"


คลิก
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (ศูนย์ -
ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย)
แนวทางการผลักดันภาคเอกชนไทยในการใช้
ประโยชน์จาก AEC


คลิก
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง -
พาณิชย์)
ผลกระทบของการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
ที่มีต่อการส่งออกและสวัสดิการของประเทศอาเซียน


คลิก
คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลดี-ผลเสียจากการเปิดเสรีโลจิสติกส์อาเซียน

คลิก
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
การเปิดเสรีทางการค้าภายใต้ AFTA
การปรับตัวสู่ AEC และผลดีผลเสียของ AEC


คลิก
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
(กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
กระทรวงพาณิชย์)
การประเมินผลกระทบความยั่งยืนทางการค้า
ของการจัดทำ EU-ASEAN FTA (Interim Report)


คลิก
ศูนย์ศึกษาความร่วมมือระหว่าง
ประเทศแห่งมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์


3. บทวิเคราะห์ประชาคมอาเซียน ด้านประชาคมการเมือง
และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community–APSC)

หัวข้อเรื่องลิงค์แหล่งที่มา
พิเคราะห์อาเซียน...ผ่านทฤษฎีความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ


คลิก
โครงการจับตาอาเซียน คณะรัฐ -
ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์
เสวนา: เปิดเสรีอาเซียนปี 2558 ผลกระทบ
ต่อการพัฒนาการกฎหมายไทย


คลิก
ประชาไท


4. บทวิเคราะห์ประชาคมอาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC)

หัวข้อเรื่องลิงค์แหล่งที่มา
ทิศทางการศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน

คลิก
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ประชาคมอาเซียนกับวิชาชีพอาเซียน

คลิก
ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยสู่ประชาคมอาเซียน

คลิก
ภาควิชารังสีเทคนิค คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล (สกอ.)
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งสู่อาเซียน

คลิก
กระทรวงศึกษาธิการ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับการคุ้มครอง
แรงงานในอนาคต


คลิก
กระทรวงแรงงาน
ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของ
ภาคราชการไทย (ตอนแรก)


คลิก
รศ.ดร.ประภัสสรณ์ เทพชาตรี
คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของ
ภาคราชการไทย (ตอนจบ)


คลิก
รศ.ดร.ประภัสสรณ์ เทพชาตรี
คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประเด็นปัญหาท้าทายของอาเซียน การเตรียม
ความพร้อมและการปรับตัวของภาคราชการไทย
สู่ประชาคมอาเซียน


คลิก
กระทรวงการต่างประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
(พ.ศ. 2555-2559) กับการเตรียมความพร้อม
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน


คลิก
ไทยเอ็นจีโอ มูลนิธิกองทุนไทย
เจาะแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 วิเคราะห
์ทิศทางประเทศไทยกับสิ่งที่ไทยต้องแก้ไข-รับมือ
(ผลเกี่ยวเนื่องกับ AEC)


คลิก
ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อ
สิทธิพลเมือง
อาเซียนซัมมิตสร้าง AEC

คลิก
ธนาคารเพื่อการเกษตรและ -
สหกรณ์การเกษตร
แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันใน
อาเซียน และแนวทางการเตรียมความพร้อม


คลิก
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 41
เรียนภาษารับอาเซียน

คลิก
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


5. ASEAN ในเวทีโลก

หัวข้อเรื่องลิงค์แหล่งที่มา
การเจรจาระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรป
(ASEAN-EU Dialogue)


คลิก
กรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ
บทบาทไทยในอาเซียน

คลิก
กระทรวงการต่างประเทศ
เปิดประตูสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

คลิก
กระทรวงคมนาคม


6. ASEAN BEST PRACTICES

หัวข้อเรื่องลิงค์แหล่งที่มา
ASEAN Rules of Origin : Lessons and
Recommendations for Best Practice


คลิก
Philippine Institute For
Development Studies
COUNTRY REPORT OF THE ASEAN
ASSESSMENT ON THE SOCIAL IMPACT
OF THE GLOBAL FINANCIAL CRISIS
: SINGAPORE


คลิก
Association of Southeast
Asian Nations
การดำเนินงานด้านต่างๆเกี่ยวกับอาเซียน
ของสิงคโปร์


คลิก
Singapore Government
Asean between Aspirations and
Realities : Australia Aspect


คลิก
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ




Keywords: AEC, ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, วิเคราะห์ประชาคมอาเซียน, ประชาคมอาเซียน

May 14, 2012

The European Integration

The European Union is a unique economic and political partnership between 27 European countries. It has delivered half a century of peace, stability, and prosperity, helped raise living standards, launched a single European currency, and is progressively building a single Europe-wide market in which people, goods, services, and capital move among Member States as freely as within one country.

The EU was created in the aftermath of the second world war. The first steps were to foster economic cooperation: countries that trade with one another are economically interdependent and will thus avoid conflict. The European Union is the outcome of a process of integration, which started in 1950 with six original states: France, West Germany, Italy, The Netherlands, Belgium and Luxembourg.
It is a unique model of integration based on treaties among member states which created an institutional framework.
The European Institutions - the Commission, the Council and the Parliament - are defining the aims and policies of the Union and conduct the management of the Union.
The idea behind the European integration process was to create an institutional framework of shared sovereignty in different sectors of the economy.
The ultimate goal of the process is the economic integration of the member states which will call for a political union in the final stage.

The Treaties

The road to European Union began with three separate treaties dating from the 1950s:
the European Coal and Steel Community (ECSC),
the European Atomic Energy Community (Euratom),
the European Economic Community (EEC).
Collectively, they became known as the European Community.

The Maastricht Treaty on European Union, which took effect in November 1993, was a major overhaul of the founding treaties. It created the "three pillars" of the European Union as it exists today.
Pillar One incorporates the three founding treaties and sets out the institutional requirements for EMU. It also provides for supplementary powers in certain areas, e.g. environment, research, education and training.
Pillar Two established the Common Foreign and Security Policy (CFSP) which makes it possible for the Union to take joint action in foreign and security affairs.
Pillar Three created the Justice and Home Affairs policy (JHA), dealing with asylum, immigration, judicial cooperation in civil and criminal matters, and customs and police cooperation against terrorism, drug trafficking and fraud.


European Union : Three Pillars


The Union's Origins

Economic integration was launched in the wake of World War II, as a devastated Western Europe sought ways to rebuild its economy and prevent future wars.


On May 9, 1950, French Foreign Minister Robert Schuman announced a plan, conceived by French businessman-turned-advisor, Jean Monnet. To control the forces of war, Monnet proposed pooling European coal and steel production under a common authority.

The Schuman Declaration was regarded as the first step towards achieving a united Europe - an ideal that in the past had been pursued only by force. Belgium, the Federal Republic of Germany, Italy, Luxembourg and the Netherlands accepted the French proposal, and signed the European Coal and Steel Community (ECSC) Treaty in Paris on April 18, 1951.

The Six set up the ECSC High Authority, to which member governments transferred portions of their sovereign powers. The ECSC was so successful that coal and steel trade between the Six increased by 129 percent in the first five years.

Encouraged by the success of the ECSC, the Six tried to pursue integration in the military and political fields. When these were derailed following rejection by the French Parliament in 1954, European leaders decided to first continue the unification of Europe on the economic front alone. At an historic meeting in Messina, Italy, in June 1955, the project to create a common market was launched. Two treaties were negotiated to establish:


A European Economic Community (EEC) to merge separate national markets into a single market that would ensure the free movement of goods, people, capital and services with a wide measure of common economic policies, and a European Atomic Energy Community (EAEC or Euratom) to further the use of nuclear energy for peaceful purposes. The Six signed the treaties creating these two Communities on March 25, 1957 in Rome. Often referred to as the Rome Treaties, they were ratified the same year and came into force in January 1958.

The European Union's Institutions

The European Union is governed by five institutions:

1. The Commission: the EU's executive organ
The Commission is the policy engine. It proposes legislation, is responsible for administration, and ensures that the provisions of the treaties and the decisions of the institutions are properly implemented. It has investigative powers, and can take legal action against persons, companies, or member states that violate EU rules. It manages the budget and represents the Union in international trade negotiations.
The European Commission is composed by 20 Commissioners of which two are from France, Germany, Italy, Spain and the United Kingdom, and one for each of the other member states. They are appointed for five-year terms, in line with the European Parliament, which approves the appointment of the Commission as a body.
The Commission President is appointed by agreement among the member governments in consultation with the European Parliament for a term of five years. Up to two Vice-Presidents are appointed from among the Commissioners. 

2. The European Parliament 
The European Parliament is composed of 626 members, directly elected in EU-wide elections for five-year terms. The President of the Parliament is elected for a two-and-a-half year term. Members of the European Parliament (MEPs) form political rather than national groups. In July 1999 Nicole Fontaine was elected President.

The Parliament holds plenary sessions in Strasbourg and Brussels. Its 20 committees, which prepare the work for plenary meetings, and its political groups normally meet in Brussels.

The Parliament acts as the EU's public forum. It can question the Commission and the Council; amend or reject the EU budget; and dismiss the entire Commission through a vote of censure, a power it has never used. However, pressure from the Parliament led to a critical report and the Commission's collective resignation in March 1999. Since Maastricht, Parliament has an appointed Ombudsman to address allegations of maladministration in EU institutions and agencies.

The European Parliament cannot enact laws like national parliaments. However, its legislative role has been strengthened over the years. The Maastricht Treaty provides for a co-decision procedure which empowers Parliament to veto legislation in certain policy areas, and to confer with the Council in a "conciliation committee" to iron out differences in their respective drafts of legislation. The Amsterdam Treaty extends the number of policy areas in which Parliament can exercise these powers. Earlier, theSingle European Act (SEA) gave Parliament the right to amend proposals for legislation (cooperation procedure), and gave it veto power over the accession of new member states and the conclusion of association agreements with third countries (assent procedure).

3 The Council of the European Union
 
The Council of Ministers enacts EU laws, acting on proposals submitted by the Commission. Since the implementation of the Maastricht Treaty, its official name is the Council of the European Union.
Comprising Ministers from each member state, the Council strikes a balance between national and Union interests. Different Ministers participate in the Council according to the subject under discussion. Agricultural Ministers, for instance, discuss farm prices in the Agriculture Council, and Economic and Finance Ministers discuss monetary affairs in the ECOFIN Council. The Ministers for Foreign Affairs provide overall coordination in the General Affairs Council. They are also responsible for foreign policy in the framework of the Common Foreign and Security Policy.

Presidency: Each Government acts as President of the Council for six months in rotation.
Coreper: The Council is assisted by a Committee of Permanent Representatives (Coreper), comprising member state officials holding ambassadorial rank, and a Secretariat, with a staff of about 2000.

4 The Court of Justice
The Court of Justice, located in Luxembourg, is the Community's "Supreme Court". It ensures that the treaties are interpreted and applied correctly by other EU institutions and by the member states.

The Court comprises 15 judges, one from each member state, appointed for renewable terms of six years.
Judgements of the Court in the field of EC law are binding on EU institutions, member states, national courts, companies and private citizens, and overrule those of national courts.

Since 1988 a Court of First Instance, consisting of 15 members, has assisted the Court of Justice. This court has power to hear actions brought by EU officials, competition and coal and steel cases, and actions for damages. Its decisions are subject to appeal to the Court of Justice on points of law only.


5 The Court of Auditors 

The Court of Auditors, based in Luxembourg, has extensive powers to examine the legality of receipts and expenditures and the sound financial management of the EU budget.
The Court of Auditors consists of 15 Members originating from the 15 Member States and appointed for a six-year term. They are independent and have specific experience in the audit of finances.

6 The European Central Bank
The European System of Central Banks (ESCB) and European Central Bank (Frankfurt) are responsible for monetary policy and the euro. The Central Bank's President is currently the Dutchman Wim Duisenberg.

7 Advisory and Technical Bodies

  • Economic and Social Committee (Brussels) a 222-member consultative body, representing labor, employers, agriculture, consumer and professional associations.
  • Committee of the Regions (Brussels) a 222-member advisory body, consisting of representatives of regional and local bodies.
  • European Investment Bank (Luxembourg) finances investments in line with EU objectives. It granted low interest loans totalling ecu 26.2 billion for projects both inside and outside the Union in 1997.
  • European Agency for Health and Safety at Work (Luxembourg)
  • European Agency for the Evaluation of Medicinal Products (London)
  • European Environment Agency (Copenhagen) a repository of environmental data
  • European Monitoring Center for Drugs and Drug Addiction (Lisbon)
  • European Police Office (EUROPOL) (The Hague) for police coordination among EU member states
  • Office for Veterinary and Plant Health Inspection and Control (Dublin)

The Union has been described as a supranational entity. The member states have delegated part of their national sovereignty to the EU institutions.
The Union also operates according to the principle of "subsidiarity", which characterizes most federal systems. Under this principle, the Union is granted jurisdiction only for those policies that cannot be handled effectively at lower levels of government, i.e., national, regional, or local.

How decisions are taken in the EU

The Maastricht Treaty gave the European Parliament the power of "co-decision" with the Council in a limited number of areas such as research, health and culture. It left the Council with the last say on a significant number of other policies, but still substantially increased the Parliament's power.

Before Maastricht, the Parliament could amend the Council's draft legislation (the so-called cooperation procedure), offer its opinion through the "consultation" procedure, or withhold its "assent" to Council decisions in certain areas (residence rights, the Structural and Cohesion Funds, Treaties of Accession and others).

Since then, the union has developed into a huge single market with the euro as its common currency. What began as a purely economic union has evolved into an organisation spanning all areas, from development aid to environmental policy.

The EU actively promotes human rights and democracy and has the most ambitious emission reduction targets for fighting climate change in the world. Thanks to the abolition of border controls between EU countries, it is now possible for people to travel freely within most of the EU. It has also become much easier to live and work in another EU country.

While the immediate concern the founders of the Union was to avoid another war in Europe but establishing an economically integrated space in Europe which was called European Economic Communities, the ultimate goal was to create a European Political Union. It is only in 1993 that the European Economic Communities (EEC) became the European Union by the Treaty of Maastricht.

While deepening their integration via Intergovernmental Conferences the member states were interested in enlarging, the space of their integrated policies to new member states so that today the European Union includes 15 member states and prepares itself for new memberships in the years to come of all the European democratic states (twelve in number) which share the values of the European Union.

At the same time the member states of the Union are working hard to deepen their integration by amending their institutional framework and enlarging their scope to political matters.

By Phatrsamon Rattanangkun

Apr 17, 2012

ตัวแบบการนำเสนอวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในทางธุรกิจที่เหมาะสมกับสภาวะการแข่งขันปัจจุบัน กรณีตัวอย่าง: การนำเสนอวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ของผู้สมัครตำแหน่ง กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (ดีดี) บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)




กรณีตัวอย่าง: การนำเสนอวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ของผู้สมัครตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (ดีดี) บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)


เป้าหมาย

เป็นสายการบินชั้นนำ 1 ใน 3 ของเอเชีย
เป็นสายการบินชั้นนำ 1 ใน 5 ของโลก

จุดแข็งซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการบินไทย 3 ด้าน


ความเป็นผู้นำในธุรกิจการบินด้านการบริการ ที่สร้างชื่อเสียงมาเป็นเวลายาวนาน
มีมาตรฐานด้านการปฏิบัติการบินที่ดีเยี่ยม สร้างความน่าเชื่อถือในระดับโลก
มีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพทั้งความรู้ ความสามารถ และมีความทุ่มเทเสียสละ ซึ่งไม่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในรัฐวิสาหกิจอื่น ๆ


วิสัยทัศน์

แนวนโยบาย ที่จะสร้างการบินไทยในอีก 5 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2555– 2559) เพื่อให้การบินไทยเป็นองค์กรที่มีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ


เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป็นสำคัญ ความต้องการของลูกค้า เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด การบินไทยต้องเข้าใจความต้องการของ ลูกค้า ซึ่งซับซ้อนและแตกต่างกัน เพื่อให้สามารถจัดผลิตภัณฑ์และบริการให้ สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าได้


เป็นองค์กรที่มีความสามารถในการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ปัจจุบันลูกค้ามีทางเลือกมากขึ้น การบินไทยจำเป็นต้องมีความเข้มแข็งในทุกๆ ด้าน เพื่อให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งทั้งในด้านการบริการที่ดี ต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ ขณะที่ มีการปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพสูง มีต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่ง โปร่งใสและเป็นธรรม


เป็นองค์กรที่คล่องแคล่ว เต็มไปด้วยพลังและความคิดสร้างสรรค์ (Dynamic) เนื่องจากธุรกิจการบินในปัจจุบันมีความผันผวนที่เกิดจากปัจจัยภายนอกสูง การบินไทยต้องสามารถปรับตัวและตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลงได้เร็ว ไม่ว่าเป็นการลดหรือเพิ่มกำลังการผลิต หรือการพัฒนาสินค้าหรือบริการใหม่ให้สอดคล้องกับความต้องการลูกค้า

กรอบแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

สร้างคุณค่าของสินค้า และบริการให้แก่ลูกค้าเพิ่มขึ้นโดยเร็ว ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของธุรกิจการบิน โดยการบินไทยจะเร่งปรับปรุงสินค้า และบริการ ที่สามารถดำเนินการได้ทันทีโดยไม่ต้องลงทุนหรือมีค่าใช้จ่ายเพิ่ม เพื่อให้ลูกค้ามีความพึงพอใจมากขึ้น อาทิ การปรับปรุงเมนูอาหาร การสร้างความสม่ำเสมอของผลิตภัณฑ์และบริการ เช่น ถ้าลูกค้าเดินทางในเส้นทางเดียวกันจะได้ขึ้นเครื่องบินในลักษณะเดียวกัน และการปฏิบัติต่อผู้โดยสารที่เท่าเทียมกัน เป็นต้น นอกจากนี้จะเริ่มดำเนินการปรับปรุงที่นั่งและสิ่งอำนวยความสะดวกให้สามารถแข่งขันได้ โดยจะใช้ระยะเวลาในการปรับปรุงไม่เกิน 2 ปี


มีการปฏิรูปกลยุทธ์ทางการตลาด ที่มุ่งเน้นการสร้างรายได้เป็นหลัก โดยการบินไทยจะปรับรูปแบบการดำเนินธุรกิจใหม่ให้มีความแข็งแกร่งขึ้น โดยเฉพาะการปรับปรุงระบบการกำหนดราคาและการบริหารรายได้ การพัฒนาช่องทางทางการขาย และความร่วมมือกับสายการบินนกแอร์และสายการบินพันธมิตรต่างๆ มากขึ้น รวมทั้งต้องมีการทบทวนวิธีการและควบคุมการออกบัตรโดยสารฟรี และการ Upgrade ที่นั่งโดยสาร เพื่อมิให้มีผลกระทบต่อการสร้างรายได้ของบริษัทฯ


สร้างเสริมธรรมาภิบาลในองค์กร โดยการนำแนวคิด Whistleblower Policy ระบบการร้องเรียนและให้ข้อมูลเบาะแสของความไม่ถูกต้องในบริษัทที่ชัดเจน โดยให้การคุ้มครองผู้แจ้งเหตุ ซึ่งเป็นระบบที่หลาย

บริษัทชั้นนำของโลกนำมาใช้ได้เป็นอย่างดี เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรมในองค์กรอย่างทั่วถึง

ปรับโครงสร้างทางการเงิน ซึ่งเป็นภารกิจเร่งด่วนที่ การบินไทยจะต้องเร่งดำเนินการโดยเร็ว เพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่การบินไทย

วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงและแนวทางที่จะจัดการกับความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง 


มุ่งเน้นการบริหารความเสี่ยงขององค์กรทั้งปัจจัยภายในและภายนอกอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย โดยมีนโยบายให้มีการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร ภายใต้การทำงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) อันประกอบด้วยกรรมการทั้งจากภาครัฐและกรรมการอิสระจากภาคเอกชน ร่วมกันกำหนดทบทวนนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอและกำกับดูแล ติดตามประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงเพื่อให้มั่นใจว่าผู้บริหารและพนักงานมีการระบุความเสี่ยง ประเมินและจัดลำดับความสำคัญ เพื่อวางมาตรการป้องกัน แก้ไข ควบคุม และจัดการปัจจัยความเสี่ยงทั้งในระดับองค์กรและระดับฝ่ายที่อยู่ในความรับผิดชอบให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และเป็นระบบตามมาตรฐาน (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission : COSO) มีการรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกไตรมาส โดยมีการส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานทุกฝ่ายขององค์กรใช้การบริหารความเสี่ยงเป็นเครื่องมือในการบริหารงาน โดยจัดให้มีการบูรณาการการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กรเข้ากับแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ เพื่อสนับสนุน ให้การดำเนินแผนกลยุทธ์เป็นไปตามเป้าหมาย และป้องกันผลกระทบหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอน รวมทั้งวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความสี่ยงและสาเหตุของความเสี่ยง และมีการวิเคราะห์ผลกระทบของความเสี่ยงระดับองค์กรโดยรวม (Portfolio View of Risk) และดำเนินการจัดทำดัชนีชี้วัดความเสี่ยงหลัก (Key Risk Indicator) เพื่อใช้เป็นเครื่องเตือนภัยล่วงหน้า และทำการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการบริหารความเสี่ยง (Enterprise-wide Risk Management System) ให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกับการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน และระบบการบริหารจัดการอื่นๆ ของบริษัทฯ 


ปัจจัยเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ 


ปัจจัยเสี่ยงที่บริษัทฯ เผชิญอยู่ ประกอบไปทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมการบินและปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อธุรกิจของบริษัทฯ โดยตรงดังต่อไปนี้ 

ปัจจัยเสี่ยงของอุตสาหกรรมการบิน 


1.
ความเสี่ยงจากราคาน้ามันอากาศยานที่สูงขึ้น 



เนื่องจากน้ำมันอากาศยาน ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายหลักในการดำเนินธุรกิจการบิน ยังคงมีราคาอยู่ในระดับสูงและมีความผันผวนอย่างต่อเนื่อง โดยในรอบปีงบประมาณ 2553 (มกราคม ธันวาคม 2553) บริษัทฯ มีต้นทุนค่าน้ำมันอากาศยานร้อยละ 34.22 ของค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน โดยบริษัทฯ ปรับปรุงนโยบายประกันความเสี่ยงราคาน้ำมันอากาศยาน (Jet Fuel Price Hedging) เพื่อลดความผันผวนของต้นทุนด้านน้ำมันอากาศยานบริหารความเสี่ยงราคาน้ำมัน หรือการทำประกันความเสี่ยงราคาน้ำมัน (Price Risk Management หรือ Hedging) ด้วยการใช้ตลาดล่วงหน้าและตลาดอนุพันธ์ เพื่อป้องกันการเคลื่อนไหวสวนกลับของราคาน้ำมัน ซึ่งวิธีการทำประกันความเสี่ยงมีหลายวิธี เช่น SWAP คือข้อตกลงจะซื้อหรือขายน้ำมันในอนาคตด้วยราคาที่กำหนดแน่นอนตายตัว โดยจะไม่มีการส่งมอบน้ำมัน ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะชำระส่วนต่างเป็นระยะๆ โดยใช้ราคาอ้างอิงกับราคาน้ำมันตลาดจรตามที่ตกลงกันไว้
ส่วน OPTION คือข้อตกลงที่ผู้ซื้อทำประกันต่อการเคลื่อนไหวของราคาน้ำมันไม่ให้สูงกว่าราคาอ้างอิงที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงกันไว้ โดยผู้ซื้อจะต้องชำระค่าธรรมเนียมล่วงหน้าครอบคลุมระยะเวลาและปริมาณที่ตกลงกัน และ COLLAR คือข้อตกลงที่จะซื้อหรือขายน้ำมันในอนาคต โดยทั้งสองฝ่ายกำหนดช่วงราคาที่จะซื้อและขาย โดยจะไม่มีการส่งมอบน้ำมัน ทั้งสองฝ่ายจะชำระส่วนต่างเป็นระยะๆ โดยใช้ราคาอ้างอิงกับราคาน้ำมันตลาดจรตามที่ตกลงกันไว้

ในการจัดทำประกันความเสี่ยงราคาน้ำมันจำเป็นต้องพิจารณาถึงโอกาสและความเหมาะสม ซึ่งอาจแบ่งเป็น 2 กรณี 


1.
ทำตามสภาพตลาดในขณะนั้น
2.
ทำตามโอกาสที่เหมาะสม เช่น ในช่วงที่น้ำมันมีราคาต่ำ โอกาสที่จะปรับตัวสูงขึ้นในอนาคตจะมีมากกว่าที่ราคาจะปรับลดลง แต่หากเป็นช่วงที่ราคาน้ำมันสูงอยู่แล้ว ต้องพิจารณาว่ามีโอกาสมากน้อยเพียงใดที่ราคาจะสูงขึ้นอีกหรือราคาจะลดลง 

โดยมีจุดประสงค์ของการทำประกันความเสี่ยงราคาน้ำมัน คือการลดความผันผวนของราคา เพื่อให้ค่าใช้จ่ายน้ำมันอยู่ในระดับเป้าหมาย หรือในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาด เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน แต่ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อทำกำไรจากส่วนต่างราคาน้ำมัน ที่ผ่านมา คณะกรรมการการบินไทยอนุมัติให้มีการจัดทำประกันความเสี่ยงราคาน้ำมันในสัดส่วนไม่ต่ำกว่า 20% และไม่เกิน 80% ของปริมาณการใช้ในแต่ละปี โดยระยะเวลาทำประกันต้องไม่เกิน 18 เดือน แต่ล่าสุดได้อนุมัติให้การบินไทยทำประกันความเสี่ยงน้ำมันได้ถึง 100%


2.
ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 


การที่บริษัทฯ มีรายได้เป็นเงินตราต่างประเทศกว่า 40 สกุล คิดเป็นร้อยละ 75 ของรายได้รวมทั้งหมด ในขณะที่มีหนี้และค่าใช้จ่ายใน 4 สกุลหลัก ได้แก่ เหรียญสหรัฐ (USD) เยน (JPY) ยูโร (EUR) และบาท (THB) บริษัทฯ ได้ดำเนินการลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน โดยใช้หลักการ Natural Hedging คือ การจัดให้รายจ่ายเป็นเงินสกุลเดียวกับรายได้มากที่สุด และการปรับโครงสร้างเงินกู้ในสกุลเงินต่างๆ ให้สอดคล้องกับสกุลเงินของเงินสดสุทธิจากการดำเนินงาน (Net Operating Cash Flow) พร้อมๆ กับลดความเสี่ยงของการมีหนี้เป็นเงินสกุลต่างประเทศมากเกินไป โดยการจัดให้มีการกู้ยืมเงินเป็นสกุลบาทด้วยส่วนหนึ่ง เพื่อลดความผันผวนของรายการผลกำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนในงบการเงิน ทั้งนี้ บริษัทฯ จึงควรทำการจัดจ้างบริษัทที่ปรึกษาด้านบริหารความเสี่ยงทางด้านอัตราแลกเปลี่ยนเพื่อฝึกอบรมบุคลากร และพัฒนาต้นแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวัดมูลค่าความเสี่ยงและบริหารความเสี่ยงทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อให้บริษัทฯ สามารถวางแผนการจัดหาเงินทุนและกำหนดวิธีการบริหารความเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือทางการเงินในการทำธุรกรรมได้อย่างเหมาะสม เช่น การทำ Cross Currency Swap (CCS) ในช่วงที่ตลาดเงินเอื้ออำนวย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีสัดส่วนเงินกู้ในสกุลหลักภายหลังจากการท า CCS ดังนี้ USD : EUR : JPY : THB = 1 : 35 : 9 : 55 (ไม่รวมภาระผูกพันค่าเช่าเครื่องบินเพื่อการดำเนินงาน) 

3.
ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย 



เนื่องจากบริษัทฯ มีการกู้ยืมเงินเพื่อนำมาใช้จ่ายดำเนินงาน ทำให้มีภาระที่จะต้องชำระดอกเบี้ยจากการกู้ยืมดังกล่าว โดยเงินกู้บางส่วนมีอัตราดอกเบี้ยเป็นแบบลอยตัว ดังนั้นหากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวสูงขึ้นจะทำให้ต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯ สูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นบริษัทฯจึงควรบริหารความเสี่ยงทางการเงิน โดยพิจารณาปรับโครงสร้างหนี้ด้วยการนำเครื่องมือทางการเงิน ได้แก่ Interest Rate Swap (IRS) มาใช้ในการแปลงอัตราดอกเบี้ย จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวมาเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ในปี 2553 บริษัทฯ ได้ดำเนินการเข้าทำธุรกรรม Interest Rate Swap (IRS) โดยการแปลงดอกเบี้ยของหนี้สกุลยูโรแบบลอยตัว เป็นแบบคงที่ จำนวน 4 รายการ วงเงินรวม 268.33 ล้านยูโร ซึ่งจากการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว ทำให้ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่คิดเป็นร้อยละ 46 ของภาระหนี้สินทั้งหมด (ไม่รวมภาระผูกพันค่าเช่าเครื่องบินเพื่อการดำเนินงาน) และมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 3.37 

4.
ความเสี่ยงจากมลภาวะของธุรกิจการบินต่อสิ่งแวดล้อม 


จากการที่สหภาพยุโรป (European Union : EU) ได้ออกระเบียบการซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกหรือ CO2 สำหรับการบิน (Emissions Trading Scheme : ETS) และนำมาใช้บังคับสายการบินที่บินเข้ายุโรปตั้งแต่ปี 2555 โดยมีข้อกำหนดว่า สายการบินที่ทำการบินเข้ายุโรปตั้งแต่ปีดังกล่าวจะต้องจำกัดการปล่อยก๊าซ CO2 ให้เท่ากับปริมาณ CO2 ที่ปล่อยในปีฐาน คือ พ.ศ. 2547 – 2549 ดังนั้น หากสายการบินใดปล่อย CO2 เกินปริมาณที่กำหนด สายการบินนั้นจะต้องทดแทนด้วยคาร์บอนเครดิตในรูป CERs (Certified Emission Reduction) โดยบริษัทฯ ได้จัดส่งแผนการใช้น้ำมันและปริมาณ CO2 ให้แก่ Deutsche Emissionhandelsstelle (DEHSt) ซึ่งเป็นผู้ดูแลบริษัทฯ ในเรื่อง Emission Trading ของ EU แล้ว 
เมื่อเดือนกันยายน 2553 บริษัทฯ เป็นสายการบินแรกในภูมิภาคเอเชียที่เปิดตัวรายการชดเชยการปล่อยก๊าซ CO2 (Carbon Offset Programme) สู่สิ่งแวดล้อมโดยร่วมกับสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (International Air Transport Association : IATA) คำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซ CO2 ของผู้โดยสารจากระยะทางที่เดินทาง แล้วคิดมูลค่าเป็นจำนวนเงินซึ่งผู้โดยสารสามารถมอบเงินดังกล่าวด้วยความสมัครใจกับโครงการชดเชยการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติ อันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ในการเป็นผู้คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมให้กับทางบริษัทฯ 


ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ 

1.
ความเสี่ยงจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 


ธุรกิจสายการบินซึ่งเป็นธุรกิจหลักของบริษัทฯ ประกอบด้วยการบริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าทางอากาศ อาจได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว วิกฤติการณ์ทางการเงินในต่างประเทศ หรือจากภัยธรรมชาติ อันเป็นปัจจัยเสี่ยงทั้งในส่วนของภาวะเศรษฐกิจโลกและปัจจัยการเมืองภายในประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้จำนวนผู้โดยสารลดต่ำลง บริษัทฯจึงต้องตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว และควรมีการติดตามสถานการณ์ต่างๆ อย่างใกล้ชิด เพื่อจะได้มีมาตรการแก้ไขและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อลดระดับความรุนแรงของความเสี่ยงลง ให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่บริษัทฯ และเพิ่มความมั่นใจในการเดินทางของผู้โดยสาร

2.
ความเสี่ยงจากการดำเนินงานโดยฝูงบินที่มีอายุการใช้งานนาน 


ฝูงบินของบริษัทฯ ที่มีอายุการใช้งานนานขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานและบำรุงรักษาของบริษัทฯ สูงขึ้น โดยค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาและซ่อมแซมที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญอาจมีผลกระทบในทางลบต่อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทฯ อีกทั้งแผนพัฒนาฝูงบินของบริษัทฯ ยังต้องใช้ทั้งค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (Capital Expenditure) เป็นจำนวนมากและระยะเวลาดำเนินการนาน บริษัทฯ จึงได้จัดให้มีมาตรการควบคุมความเสี่ยง ได้แก่ การวางแผนการซ่อมบำรุงอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Maintenance Plan) เพื่อให้แผนการใช้งานเครื่องบินกับแผนการซ่อมบำรุงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้บริษัทฯ มีเครื่องบินใช้งานเพียงพอตามตารางการบิน ส่วนความล่าช้าในการจัดหาฝูงบินใหม่ การส่งมอบเครื่องบินแบบแอร์บัส A330-300 ที่มีปัญหาเรื่องการส่งมอบเก้าอี้ชั้นประหยัดจากบริษัท Koito ล่าช้า จำนวน 5 ลำ ที่อาจส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและผลการดำเนินงานของบริษัทฯ นั้น บริษัทฯ ได้ดำเนินการจัดหาเก้าอี้ชั้นประหยัดจาก Supplier รายใหม่ คือบริษัท ZIM Flugsitz ได้ดำเนินการทบทวนการออกแบบขั้นสุดท้าย (Critical Design Review) เป็นที่เรียบร้อย และได้รับมอบเก้าอี้โดยสารดังกล่าวบางส่วนจาก ZIM Flugsitz แล้ว นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการบริหารจัดการฝูงบิน โดยเช่าเครื่องบินแบบโบอิ้ง 777-300ER จำนวน 3 ลำ จากเจ็ทแอร์เวย์ส เพื่อรักษากาลังการผลิตให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 

3.
ความเสี่ยงจากข้อพิพาททางกฎหมาย 


ความเสี่ยงที่บริษัทฯ อาจถูกดำเนินการตามกฎหมายหรือกฎระเบียบ ซึ่งรวมถึงข้อพิพาทเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการป้องกันการผูกขาด และกีดกันทางการค้า (Antitrust) ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสาธารณรัฐเกาหลี ล่าสุดเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 กรณีที่บริษัทฯ ถูกสอบสวน กล่าวหาว่า บริษัทฯ ร่วมกับสายการบินอื่นละเมิดกฎหมายประชาคมยุโรป (Commission of the European Communities : EC) ได้มีคำตัดสินยกข้อกล่าวหาบริษัทฯ แล้ว บริษัทฯ ไม่ถูกกำหนดโทษปรับแต่อย่างใด 
อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้สำรองงบประมาณไว้เป็นค่าปรับจากกรณีการถูกกล่าวหาและการฟ้องร้องเกี่ยวกับการละเมิดกฎหมายแข่งขันทางการค้าในภูมิภาคต่างๆ ไว้ตั้งแต่ปี 2551 ซึ่งในปี 2553 บริษัทฯ ได้สำรองงบประมาณไว้เป็นเงินจำนวน 3,661 ล้านบาท

ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวกับหุ้นกู้ที่จะออกและเสนอขาย กรณี
ความเสี่ยงจากผลกระทบกรณีการลดสัดส่วนการถือหุ้นโดยรัฐบาล 

ตราบเท่าที่รัฐบาลยังคงถือหุ้นในบริษัทฯ เป็นจำนวนเกินกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทฯ จะยังคงมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจตามที่นิยามไว้ในกฎหมายไทย ซึ่งทำให้บริษัทฯ ยังคงต้องนำเสนองบลงทุนที่สำคัญต่อรัฐบาลตามระเบียบว่าด้วยงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง และต้องจัดให้งบการเงินประจำปีของบริษัทฯ ได้รับการตรวจสอบจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน โดยปัจจัยทั้งหมดเหล่านี้อาจจำกัดความสามารถของบริษัทฯ ที่จะจัดหาเงินทุนหรืออาจจะไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในเชิงกลยุทธ์ ซึ่งอาจมีผลกระทบในทางลบต่อการดำเนินธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และโอกาสของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ จะยังคงอยู่ภายใต้ข้อจำกัดดังกล่าวจนกว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนแปลงนโยบายหรือรัฐบาล (ไม่ว่าโดยผ่านกระทรวงการคลังหรือโดยประการอื่นใด) จะถือหุ้นในบริษัทฯ ไม่เกินกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งจะทำให้บริษัทฯ พ้นจากสถานะการเป็นรัฐวิสาหกิจ 

การที่บริษัทมีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจทำให้บริษัทได้สิทธิประโยชน์และสิทธิพิเศษที่เกี่ยวข้องบางประการ ซึ่งในอนาคตหากรัฐบาลลดสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทฯ ทำให้รวมกันแล้วต่ำกว่าร้อยละ 50 ของหุ้นที่จำหน่ายได้ทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทฯ อาจสูญเสียสิทธิประโยชน์และสิทธิพิเศษที่เกี่ยวข้องในฐานะรัฐวิสาหกิจบางประการ และอาจต้องตกอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า 2542 ซึ่งมีข้อกำหนดที่ห้ามมิให้บริษัทไทยใช้อำนาจเหนือตลาดโดยมิชอบ ทำกิจกรรมใด ๆ อันมิใช่การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม และมีผลเป็นการทำลาย ทำให้เสียหาย ขัดขวาง หรือจำกัดการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจรายอื่น ซึ่งอาจมีผลกระทบในทางลบต่อความสามารถในการดำเนินงานของบริษัทฯได้ รวมไปถึงเป็นปัจจัยสำคัญที่สถาบันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือจะทำการทบทวนปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของบริษัทฯ อีกด้วย 

อย่างไรก็ตามการมิได้มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจจะทำให้บริษัทฯ มีความคล่องตัวในการดำเนินงานมากขึ้น และจะทำให้บริษัทฯ สามารถดำเนินธุรกิจภายใต้กรอบการบริหารจัดการของฝ่ายบริหารและคณะกรรมการของบริษัทฯ โดยเฉพาะแผนการลงทุนของบริษัทฯ ซึ่งในฐานะของรัฐวิสาหกิจ บริษัทฯ จะต้องขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีผลให้การลงทุนในสินทรัพย์ หรือการลงทุนอื่น ๆ ขาดความคล่องตัวและไม่ทันต่อการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ทั้งนี้ การที่บริษัทฯ เป็นบริษัทมหาชนและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษัทฯ อยู่ภายใต้กลไกการกำกับดูแลตามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์อันเป็นสากลอยู่แล้ว เช่น การเปิดเผยข้อมูล หลักเกณฑ์การกำกับดูแลกิจการที่ดี เป็นต้น ที่บริษัทฯ เห็นว่ามีความเหมาะสมเพียงพอ โปร่งใสและเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้น อีกทั้งมีความคล่องตัวในการดำเนินงาน ตอบสนองต่อสถานการณ์และการแข่งขันได้เป็นอย่างดี




Total Pageviews